ใครเคยเล่นเกมส์ Mario คงรู้จัก Yoshi กันดีครับ เป็นตัวละครที่น่ารักแต่พิมพ์ยากต้องมี Support เท่านั้นครับ คราวนี้อีกเช่นกันเราใช้ความสามารถของเครื่องพิมพ์ แบบ 2 หัวฉีด พิมพ์เส้นพลาสติก ABS ข้างซ้าย ่ส่วน Support พิมพ์จากหัวขวาโดยใช้ HIPS คราวนี้เหมือนเดินจากคราวที่แล้ว ที่เราพิมพ์วาฬ ส่วนที่เป็น Support นั้นแกะง่ายมาก แทบหลุดเมื่อสัมผัส จนไม่ต้องใช้
Category: classroom
สอนการใช้งานเครื่องพิมพ์ 3มิติ 3D printer, 3D Scanner, Laser Machine การใช้งานเบื้องต้น ขั้นตอนการออกแบบ CAD, ใช้ Software Slicer, ใช้งานเครื่อง นำชิ้นงานมาใช้จริง
วาฬน้อย ให้2หัวฉีด ABS หัวซ้าย HIPS หัวขวา
เรามาแสดงความสามารถของเครื่องพิมพ์สองหัวฉีดกันนะครับคราวนี้ โมเดลที่นำมาลองนั้นเป็นวาฬ แถบไม่มีจุดสัมผัสกับฐานพิมพ์เลย ต้องให้โปรแกรมเจน Support มาช่วยในการสร้าง ธรรมดาถ้าเป็นเครื่องพิมพ์หัวฉีดเดียว เมื่อพิมพ์ชิ้นงานพร้อม Support เราต้องมาแกะ Support ซึ่งค่อนข้างยาก แต่คราวนี้เราโชว์ความสามารถของ Dual Extruder หรือเครื่องพิมพ์ 3มิติแบบสองหัว (printer ที่เราขายทุกตัวเป็นแบบสองหัวฉีด) ส่วนที่เป็นชิ้นงานพิมพ์ด้วยวัสดุ ABS สีฟ้า ส่วนที่เป็น Support พิมพ์ด้วยวัสดุที่เป็น
รีวิว การใช้งาน PETG และ Nylon Filament
บทความนี้เรา Print3dd มาเจาะลึกการใช้งาน PETG (Polyethylene terephthalate) พลาสติกที่ใช้ทำขวดน้ำดื่ม, Nylon (Polyamides) พลาสติกที่ใช้ทำเสื้อผ้า และ กระเป๋า เชือก คุณสมบัติ PETG อย่างที่ทราบกัน PET เป็นพลาสติกที่ใช้ทำขวดน้ำดื่ม ภาชนะใส่อาหาร เนื่องจากมีคุณสมบัติเหนียวขึ้นรูปได้ง่าย อีกทั้งมีความใส ไม่มีสารเจือปนอันตราย จึงนิยมนำมาใช้เป็นภาชนะบรรจุภัณฑ์ เมื่อเทียบกับ Nylon
สาธิตการใช้ PVA และ HIP พลาสติก Dissolvable
เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าเครื่องพิมพ์ แบบสองหัวฉีดนั้น ออกแบบมาไม่เพียงแต่ให้พิมพ์เพียงสองสีเท่านั้น มันยังออกแบบมาเพื่อให้พิมพ์พลาสติกชนิดพิเศษที่ชื่อว่า Dissolvable Filament หรือ “พลาสติกที่ทำลายได้” โดยหลักๆในท้องตลาดปัจจุบันนิยมใช้กันอยู่ 2 ชนิดคือ PVA และ HIPS PVA PVA หรือ POLY VINYL ALCOHOL มีสอนประกอบทางเคมีจากแอลกอฮอล์ จึงสามารถทำละลายได้ดีในน้ำเปล่า ข้อดี –
สาธิตการใช้ Acetone กับ ABS
ทำพื้นผิวชิ้นส่วน 3 มิติ ABS ด้วยไออะซิโตน ปัจจุบันมีการใช้อะซิโตนในงานพิมพ์สามมิติอย่างแพร่หลาย โดยการจุ่มชิ้นส่วนลงในอะซิโตนหรือทาอะซิโตนด้วยแปรงลงบนชิ้นส่วน เพื่อทำให้งานเรียบขึ้นจนถึงที่สุด Print3dd.com ได้ทดลองด้วยวิธีที่แตกต่างออกไปนั่นคือทำพื้นผิวให้เรียบโดยการใช้ต้นทุนต่ำที่สุด เราใช้ถาดททำความร้อน แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ ห่วงสำหรับเกี่ยวชิ้นส่วนขึ้นจากเหยือกแก้ว และเหยือกแก้วที่เติมอะซิโตนให้สูงประมาณ 3-4 มิลลิเมตร ขึ้นแรกเขาวางเหยือกแก้วที่ใส่อะซิโตนไว้แล้วลงบนถาดทำความร้อน โดยถาดทำความร้อนนี้ถูกอุ่นไว้ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียสไว้ก่อน เมื่อไออะซิโตนลอยขึ้นส่วนบนของเหยือก เขาเปลี่ยนอุณหภูมิเป็น 90 องศาเซลเซียส (ใน
[Advance] สอนใช้กระจกรองชิ้นงาน สำหรับ Creator X
จากครั้งก่อนเราสอนวิธีการประยุกต์ใช้ แผ่นกระจกบน Heated Bed สำหรับเครื่อง Creator Dual Extruders (Creator โครงไม้) ลูกค้าหลายท่านเรียกร้องให้เขียนวิธีการ ใช้แผ่นกระจกกับ Creator X (โครงโลหะดำด้าน) บ้าง วันนี้ได้โอกาสมาเขียนให้ทุกคนได้ดูกันนะครับ ทำเองได้ไม่ยากนัก ชิ้นส่วนนั้นทำได้โดยการ Print 3D Model จากตัวท่านเอง ปล. บทความนี้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อประโยชน์แก่ตัวลูกค้า
ทำหน้าต่างปิด Creator X กันเถอะ
**ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณ PEX มากสำหรับการแบ่งปันคราวนี้ครับ** เนื่องจากส่วนหน้าของ Creator X เป็นส่วนเปิด หลายๆคนคงอยากทำให้มีลุคเหมือน MakerBot Replicator 2X เรามีผลงานจากทางบ้านมาเสนอครับ ต้นทุนทั้งสิ้นราว 60-100 บาท ทำง่ายๆจากการ Print จากเครื่อง 3D Printer เรานี่แหละ Instruction จากคุณ PEX “ใช้อครีลิด
รีวิว Sense 3D Scanner ข้อมูลเจาะลึกถึงการใช้งาน
สวัสดีทุกท่านครับ วันนี้ทาง Print3dd.com จะมารีวิวเครื่อง 3D Scanner หรือ สแกนเนอร์ 3 มิติ แบบมือจับชื่อ Sense 3D Scanner จากผู้ผลิต Cubify.com ทางฝั่งUSA กันนะครับ ต้องเกรินก่อนว่า Sense ถือว่าเป็น 3D Scanner แบบมือถือราคาถูกตัวแรกของโลกเลยก็ว่าได้ หากไม่รวมกับ
[Advance] สอนการใช้กระจก กับ Heated Bed
หมายเหุต ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนว่าเทคนิคนี้ไม่จำเป็นต้องทำก็ได้ครับ เครื่องที่ซื้อไปสามารถใช้ได้ปกติครับ เพียงแต่หากใช้เทคนิคนี้จะทำให้การทำงานดูง่ายขึ้น(ยากตอน Setup ครั้งแรกครั้งเดียว) การ Setup ค่อนข้างยากนิดสำหรับคนทำครั้งแรก ส่วนใครจะนำไปต่อยอดก็ไม่ว่าครับแล้วแต่เทคนิคส่วนบุคคล** ***เรายินดีให้นำบทความนี้ไปใช้ครับ แต่รบกวนใส่เครดิตให้ www.Print3Dd.com ด้วย*** Video ข้อดี 1. เทคนิคนี้ใช้ได้กับเครื่อง 3D Printer ทุกรุ่นที่ปรับระดับฐานได้ คนใช้ Flashforge หรือ MakerBot
สอนใช้งาน 3D Printer เป็นภายใน 15 นาที!!!
ทาง Print3Dd.com ได้จัดทำบทความและวิดีโอนี้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่สนใจ 3D Printing แต่ไม่รู้ว่าใช้อย่างไง มีหลักทำงานอย่างไร เพื่อประโยชน์ในการใช้ต่อไปนะครับ ฺBackground : เครื่อง 3D Printer ที่สอนทั้งหมดในวิดีโอนี้ใช้ Flashforge Creator Dual Extruders ครับ ซึ่งหลักการทำงานคล้ายๆกับเครื่องยี่ห้ออื่นครับ อาจจะไปประยุกต์ใช้กันได้ เรียนแบบเร่งรัด ให้ดูวิดีโอ 4,5,7 เรียบแบบปกติ
ใช้ Blue Tape กับ 3D Printer
ฺBlue Tape หรือเทปสำหรับทาสีบ้าน (กันสีเลอะ) ใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศตะวันตก มีให้เลือกหลายชนิด หลายแบบ หลายขนาด หลายยี่ห้อ แต่จริงๆแล้วมีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน คือ เนื้อสัมผัสด้านหน้าเหมือนกระดาษหนังไก่ หรือ กระดาษกาวที่บ้านเราใช้กัน แต่มีจุดเด่น คือคุณสมบัติพิเศษคือ ไม่ทิ้งคราบรอยกาวเมื่อทำการลอกเทปชนิดนี้ออก เราสามารถใช้ Blue Tape ปิดรองแผ่นทำความร้อน Heated Bed ได้ โดยอย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น
15 ข้อควรรู้เกี่ยวกับ 3D Printer
15 ข้อควรรู้เกี่ยวกับ 3D Printer เครื่อง 3D Printer หรือเครื่องพิมพ์ 3มิติ มีหลักการทำงานเหมือนเครื่องพิมพ์2มิติทั่วไป เพียงแต่เป็นจากหมึก เป็นพลาสติกเท่านั้น เรื่องที่ทำให้เครื่อง 3D Printer ดังเป็นพลุแตก คือ กรณีที่มี share โมเดลปืนที่ยิงได้จริง โดยเครืองตรวจจับโลหะไม่สามารถตรวจจับได้ Model ปืน 3มิติ ถูกดาวโหลดไปถึง
โครงการ แขนเทียม จากเครื่องพิมพ์ 3มิติ
เดเนียล โอมา อาศัยอยู่ในซูดาน ประเทศที่ถูกแบ่งแยกโดยสงครามกลางเมือง เมื่อสองปีที่แล้วขณะที่เข้าอายุได้ 14 ขวบ เขาได้ดูแลวัวตามปกติประจำวัน แต่ปรากฏได้มีเครื่องบินทิ้งระเบิดของรัฐบาลทิ้งระเบิดในจุดที่เค้าอยู่ แม้ว่าเดเนียลจะหลบในที่กำบังใต้ต้นไม้ เขาก็ถูกแรงระเบิดทำให้เสียมือทั้งสองข้าง “ไม่มีมือ ก็ทำอะไรไม่ได้” เดเนียลให้สัมภาษณ์กับนิตยสาร Time “ถ้าผมเลือกได้ ผมคงเลือกที่จะตายดีกว่าในตอนนั้น” ขณะนี้เดเนียลอายุได้ 16 แล้วในช่วงสองปีที่ผ่านมาเค้าได้ใช้ มือเทียม จากเครื่องพิมพ์ MakerBot Replicator 2
แนะนำการลงสี 3D Model
ทาง MakerBot ออกมาแนะนำวิธีการลงสี โมเดลที่เราพิมพ์จาก 3D printer โดยวิธีที่จะแนะนำนี้เป็นการลงสีแบบมาตฐานคือ การทาสีนั้นเองครับ การทาสีใช้กันมาต้องแต่ยุคโบราณ โดยโมเดลที่ทำง่ายและแนะนำสำหรับผู้ใช้งานเบื้องต้นคือ PLA เนื่องจากพิมพ์ง่ายกว่า ที่อุณหภูมิต่ำ และไม่จำเป็นต้องใช้ Heated Bed(ส่วน ABS ก็สามารถใช้วิธีนี้ได้เช่นกัน แต่ให้ระวังสี หรือ รองพื้นที่มีส่วนผสมของ อะซิโตน เนื่องจาก ABS ละลายใน
รีวิว ภาค2/2 การใช้โปรแกรม MakerWare ตอนการพิมพ์ชิ้นงาน 2 สี
จากบทความภาคที่แล้วได้เกรินนำ Basic การใช้งานทั้งหมดของ MakerWare ไปแล้วครับ คราวนี้เรามาต่อกันที่การทำชิ้นงาน แบบสองสีดูบ้างว่าเป็นอย่างไรบ้าง อย่างที่รู้กัน 3D Printer หลายตัวเช่น Replicator2, Flashforge Creator Pro สามารถพิมพ์ชิ้นงานและ 2 สีได้ในตัวของมันเอง(สำหรับเครื่องพิมพ์ 3มิติแบบหัวเดียว ต้องใช้วิธีหยุดเครื่องและเปลี่ยนเส้นพลาสติกเอาเอง เสียเวลาไม่น้อย) โดยสามารถพิมพ์ผ่านโปรแกรม ReplicatorG หรือ MakerWare ได้
รีวิว ภาค1/2 การใช้โปรแกรม MakerWare ง่าย-เร็ว-สะดวก สำหรับมือใหม่
สืบเนื่องจาก Review คราวที่แล้วที่เรา รีวิวการใช้งานของ Flashforge Creator Dual Extruders กันโดยใช้โปรแกรม ReplicatorG ในการทำงานนะครับ ซึ่งหลายๆคนอาจจะบอกว่า ReplicatorG หน้าตา interface ไม่ค่อยสวย หรือ อาจบอกว่าใช้งานยากครับ คราวนี้เราเลยเอาโปรแกรม MakerWare ของ MakerBot มาให้ลองใช้งานกัน ซึ่งเข้าใจง่ายกว่า สะดวกกว่า
Support คืออะไร?
support การพิมพ์ชิ้นงาน 3มิติ กับ Model ที่มีส่วนที่ยื่นออกมา หรือห้อยอยู่ overhang (เช่นจากรูปคือ ส่วนหูของโยดา) การเลือก option support เป็นทางเลือกนึงในการพิมพ์ชิ้นงาน โดยไม่ต้องสร้างส่วนรองรับ model 3D program เวลาเราพิมพ์ชิ้นงานออกมาจะ จะมีพลาสติกส่วน support นี่ติดออกมาด้วย แต่ไม่ต้องกังวลเนื่องจาก ตัดและแกะออกจากชิ้นงานได้ง่าย ดังตัวอย่างในรูป
Object Infill คืออะไร?
การใช้ Option “Object Infill” เป็นการเติมส่วนของตาข่ายใน Object โดยจะมีให้เลือกค่าต้องแต่ 0-100%(0% แปลว่าชิ้นงานนั้นกลวงมีแค่ผิด surface เท่านั้น 100% หมายความว่าชิ้นงานนั้นตันน้ำหนักกับเวลาที่พิมพ์นั้นก็จะมากตามไปด้วย” โดยในรูปที่เห็นเป็นรูป Batman นั้นด้านขวาเป็นการพิมพ์แบบ Object Infill 10% รูปแบบการ Infill นั้นเราสามารถเลือกได้เช่นกัน เช่น Infill ในรูปแบบตารางจัตุรัส