ภาพแสดงการเทียบขนาดของชิ้นงานที่ได้จากการพิมพ์ Form 3 และ Form 3L
เจ้าตัว Form3L นั้นมีขนาดการพิมพ์ที่ใหญ่ขึ้นจากตัวเก่าอย่าง Form3 มาก ซึ่งขนาดการพิมพ์ของตัว Form3L นั้นคือ 335 x 200 x 300 mm. แต่ตัว Form3 มีขนาดการพิมพ์อยู่ที่ 145 x 145 x 185 เท่านั้นเอง
หากคิดอะไรไม่ออกรุ่นที่แนะนำ ใช้ได้หลายหลายสุดคือเครื่องแบบ Hybrid ใช้ได้เกือบทุก Category ราคาอยู่ในระดับกลางๆ ใช้ได้งานได้ถึงระดับอุตสาหกรรม EinScan Pro 2X/2XPEinScan Pro HD
คำแนะนำ
หากการสแกนของท่านครอบคลุมวัตถุหลายขนาดทั้งขนาดเล็ก-กลาง-ใหญ่ อยากให้แนะนำให้เลือก Scanner ที่สามารถสแกนแบบ Hybrid คือสแกนได้ทั้ง Handheld เพื่อสแกนของชิ้นใหญ่หน่อย วัตถุที่เคลื่อนย้ายลำบาก และ Fixed Scan โดยใช้ขาตั้งกล้องสแกนเป็นช็อตๆไปเรื่อยๆเพื่อเก็บรายละเอียดและความสวยงาย พวกนี้จะเป็นรุ่น EinScan Pro 2X/2XP, EinScan Pro HD
หากเจาะจงต้องสแกนวัตถุสีดำ หรือสแกนในที่จ้า แสง Backgroud เยอะหรือจ้าให้ลองเลือกรุ่น EinScan Pro HD เพราะทำมาให้ยิงแสง LED ได้แรงขึ้นกว่ารุ่นอื่น ในกรณีที่ทั้งต้องการสแกนวัตถุสีดำ, วัตถุสะท้อนแสง, แสงพื้นหลังไม่สามารถควบคุมได้ แนะนำเป็นรุ่น EinScan HX เนื่องจากใช้ Blue Laser ในการสแกน Blue Laser จะมีความเข้มของแสงมากกว่า
A : ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า เครื่อง 3D Scanner ระบบ LED (ไม่ว่าแสงขาวหรือแสงน้ำเงิน) แพงทางวัสดุสีเข้มและมันวาวสะท้อนแสง ต้องเป็นเครื่อง LED ที่ยิงแสงน้ำเงิน-ม่วงเข้มมากๆถึงจะสแกนวัสดุเข้มหรือมันวาวได้ ดังนั้นหากเจอพื้นผิวดังกล่าวนิยมให้พ่นสเปร์ยแป้ง เตรียมผิวให้พร้อมสแกนเป็นสีขาวด้าน สเปร์ยแป้งมี Base เป็น Alcohol ไม่มีฤทธิ์กัดสีนัก แต่หลายๆครั้งวัตถุที่มาสแกนไม่สามารถพ่นสเปร์ยแป้งได้ เช่น เป็นวัตถุโบราณมีความสำคัญมาก, เครื่องยนต์เครื่องจักร
เรามาทำความรู้จักกับ Form 3L คร่าวๆกันดีกว่า ว่าเค้ามีดียังไงบ้างหนอออออ….
เครื่องระบบเรซิ่นจาก Formlabs พัฒนาต่อมาจาก Form 2 ที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก Form 3L (มีขนาดพิมพ์ 335 x 200 x 300 mm. ใหญ่กว่า Form 3 ประมาณห้าเท่า) มีระบบใหม่เข้ามาชื่อ Low Force Stereolithography (LFS) เป็นระบบที่ลดแรงดึงระหว่างชิ้นงานกับถาดพิมพ์ ทำให้ถาดพิมพ์ใช้งานได้นานขึ้น, พิมพ์ได้เร็วขึ้น (ไม่ต้องใช้ไม้ปาดเหมือน Form 2) และ พิมพ์ชิ้นงานได้สวยขึ้น อีกอย่างที่มีพิมพ์พัฒนาขึ้นมาเป็นระบบ Light Processing Unit(LPU) แบบใหม่ ทำให้แสงเลเซอร์ที่ตกกระทบกับเรซิ่นมีจุดที่เล็กลง แม่นยำมากขึ้นเป็น 85 ไมครอน ไม่ลดคุณภาพของแสงเลเซอร์ที่ขอบของจอ
โดยใน Form 3L จะมี LPU ให้มา 2 ชุด เลยทำให้ไม่ต้องกังวลปัญหาเรื่องการพิมพ์งานช้า มีสองหัวช่วยกันทำงาน ถาดเรซิ่นของ Form 3L ก็ต้องใช่สองขวดเลยโดยขวดเรซิ่นดังกล่าวยังสามารถใช้ร่วมกันได้ระหว่าง Form 2, Form 3, Form 3L
แต่ปัญหาเหล่านั้นจะหมดไปหากได้รู้จักและทดลองใช้เครื่อง FORM 3L เครื่องพิมพ์เรซิ่นขนาดใหญ่ที่มี ขนาดการพิมพ์อยู่ที่ 335 x 200 x 300 mm. ความละเอียดสูง แทบจะไม่ต้องขัดแต่งอะไรเพิ่มเติม แถมยังมีความแข็งแรงพอที่จะนำไปทำแม่พิมพ์หล่อชิ้นงานอีกด้วย
Scan(7) เป็นหน้าต่างที่ใช้ในการควบคุมการสแกน สามาถปรับองศาของตัว camera ความสว่าง การเริ่มหรือหยุดสแกนงาน เมื่อทำการสแกนงานเสร็จแล้วจะมีเครื่องมือเด้งขึ้นมาเพิ่มเติมให้จะอยู่ด้านขวาคือการลบส่วนเกิน(8) การซูม และส่วนด้านล่างนั้นจะมี Rescan (สแกนงานใหม่อีกครั้ง)(5), Flip scan (สแกนงานในด้านอื่น ๆ )(8) และ Data wrap (ปิดผิวชิ้นงานเพื่อทำการ save file )(6) ส่วนการเชื่อมต่องานโปรแกรมจะทำการ Alignment(9) ให้แบบอัตโนมัติเมื่อทำการ Flip scan เสร็จให้กดที่ Alignment เมื่อเราทำการกดที่ Data wrap โปรแกรมจะทำการ Save แบบอัติโนมัติให้ทันที่เป็น .stl ทันที แต่เราต้องเลือกว่าจะให้ปิดผิวงานเป็นแบบ Watertight (แบบตัน) และ Unwatertight (แบบกลวง)(10)
Process เป็นการตรวจสอบงานที่ได้ปิดผิวเสร็จเรียบร้อยแล้ว และสามารถกลับไปสแกนซ่อมแซมงานได้ โดยให้กดที่ Next จะกลับไปสู่หน้าต่างของ Scan ถ้างานที่ปิดผิวเรียบร้อยแล้วต้องการจะออกให้กดที่ Conplete เสร็จสิ้นการสแกนงาน
และขอเสริมอีกนิดคือในส่วนของหน้าต่าง Process นั้นด้านซ้ายมือจะมีแถบเมนู Model list(11) คือจะแสดงจำนวนไฟล์ชิ้นงานที่สแกนอยู่ทั้งหมดสามารถเปิด/ปิด ดูแต่ละชิ้นงานได้ครับ เมื่อสแกนงานเสร็จแล้วได้ลองนำชิ้นงานได้เปิดในโปรแรกม ZBrush เพื่อดูผิวของงาน และจำนวน Polygon ของไฟล์งานเวลาออกมาดีไหม ถ้าว่าดีมากเลย Polygon ละเอียดมากทำให้ง่ายต่อการแก้ไขงานต่อ
MoI (ย่อมาจาก “Moment of Inspiration”) เป็นโปรแกรมทีทำมาเพื่อศิลปิน และนักออกแบบโดยเฉพาะ ผู้พัฒนาได้ใส่ความสามารถของการสร้างไฟล์สามมิติมาให้อย่างเต็มรูปแบบ แต่ได้ตัดความยุ่งยากซับซ้อนทางด้านเทคนิคออกไป ทำให้ผู้ใช้งานทำงานได้อย่างอิสระ และสามารถจดจ่ออยู่กับการสร้างสรรค์ได้อย่างเต็มที่
ในขณะที่โปรแกรม 3D อื่น ๆ ต้องมีการกดเมาส์ปุ่มขวาบ่อยมากถึงมากที่สุด MoI กลับใช้การเชื่อมต่อกับผู้ใช้งานแบบเรียบง่าย มันสามารถใช้งานกับเมาส์ปากกาได้อย่างลงตัว จนคุณสามารถใช้งานโปรแกรมได้โดยไม่ต้องแตะคีย์บอร์ดเลย
ที่ด้านขวามือของจอภาพจะมีเมนูให้เลือกว่าจะเขียนเป็นเส้น หรือเป็นรูปทรงสามมิติ มีคำสั่งแบบ 3D เช่น ดึงยืด ตัดมุม มนมุม ออฟเซ็ท ฯลฯ และมีคำสั่งดัดแปลงเช่น หมุน ย่อ-ขยาย จัดเรียง เปลี่ยนรูปทรง ฯลฯ และยังสามารถกำหนดขนาดที่แน่นอนได้ด้วย MoI สามารถใช้สคริปได้ด้วย
MoI สามารถเรียนรู้ได้ในเวลาอันสั้น โดยผู้ใช้งานไม่ต้องมีพื้นฐานด้านสามมิติมาก่อน ก็สามารถสร้างสรรค์โมเดลได้อย่างรวดเร็ว
อีกโปรแกรม 3D ฟรีที่น่าสนใจคือ OpenSCAD มันไม่ได้เป็นโปรแกรมประเภท interactive แต่เป็นแบบใช้การพิมพ์คำสั่งด้วยแป้นพิมพ์ ซึ่งการขึ้นรูปโมเดล 3D จะใช้การเขียนโค๊ดกำหนดค่าต่าง ๆ แล้วโปรแกรมจะสร้างเป็นโมเดล 3D ให้
Yuko Oda มีพื้นฐานในด้านวิจิตรศิลป์ เธอได้รับวุฒิปริญญาโทด้านประติมากรรมจาก Rhode Island School of Design จากนั้นเธอก็ไปทำงานในนิวยอร์คกับสถาบัน New York Institute of Technology (NYIT) ที่นั่นทำให้เธอได้ใช้เครื่องพิมพ์สามมิติเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นระบบเส้นพลาสติก (FFF) และเครื่องระบบ Stereolithography (SLA) ก่อนที่จะร่วมงานกับมหาวิทยาลัย Massachusetts Lowell (UMass Lowell) ในปี 2017 ทุกวันนี้วิทยาลัยต่าง ๆ มีการนำการพิมพ์สามมิติมาใช้ในการเรียนมากขึ้น ตั้งแต่การออกแบบ ไปจนถึงงานแอนนิเมชั่น และการปั้น เป็นการส่งเสริมนักเรียน และปรับปรุงหลักสูตรให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่กำลังเปลี่ยนไปจากการปฏิบัติแบบเดิมๆ
เทคโนโลยี และศิลปะที่ UMass Lowell
Yuko and students print projects on Form 2. Photo Credit: Jim Higgins