INTERMACH 2023 งานเเสดงเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตแห่งปี 10-13 พฤษภาคม 2566 ตั้งแต่เวลา 10:00-18:00 น. ที่ไบเทค บางนา บูธเลขที่ V39 Hall 102 พบกับเครื่องพิมพ์3มิติ, สแกนเนอร์, เลเซอร์ แบบจัดเต็มทั้งงานเล็กและงานใหญ่ ระดับเริ่มต้น ไปจนถึงระดับการใช้ในอุตสาหกรรม พร้อมให้ได้ทดลองใช้งานกันจริงๆ ร่วมกับทีมงานEngineerที่จะคอยดูแลและตอบคำถามที่สงสัยในงาน 3D Printing
Tag: [Medical Solutions]
บทความ ข้อมูล ข่าว การใช้ 3D Printer, Scanner เชิงการแพทย์ เช่นการวินัจฉัยโรค พิมพ์ออกมาด้วย เครื่องพิมพ์อวัยวะ 3มิติ การพิมพ์ชิ้นส่วนร่างกายมนุษย์จากเซลล์ของคนนั้น การพิมพ์กระดูกไททาเนียมเพื่อการปลูกถ่าย ใช้ CT Scan, MRI ได้ไฟล์ Dicom มาออกแบบ หรือ วางแผนการรักษา
อุปกรณ์ช่วยปกป้อง ส่วนหัว ของผู้ป่วยโรคลมชัก จาก 3D Printer และ Scaner
โรคลมชัก (epilepsy) เป็นหนึ่งในความผิดปกติ ของเซลล์ในสมอง เกิดจากการเปลี่ยนแปลง อย่างเฉียบพลัน ของไฟฟ้าสมองที่ออกมาจากกลุ่มเซลล์ที่ผิดปกติพร้อมๆกัน อาการโรคลมชักขึ้นกับหน้าที่ของสมองในตำแหน่งที่ถูกรบกวนด้วยคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติในขณะชัก เช่น ถ้าขณะชักไฟฟ้าสมองรบกวนสมองส่วนที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (primary motor cortex) ผู้ป่วยจะมีอาการชักแบบเกร็งกระตุก ถ้ารบกวนส่วนที่ควบคุมการมองเห็น (visual cortex) ผู้ป่วยอาจเห็นแสง (flashing light) ในขณะที่มีอาการชัก แต่อาการชักชนิดที่พบได้บ่อยคือ อาการชักเกร็งกระตุกทั้งตัว (generalized tonic
การพัฒนาอุปกรณ์สำหรับบำบัด “ผู้ป่วย อัมพาต หดเกร็ง” ด้วย 3D Scanner และ 3D Printer
อาการเกร็ง หนึ่งในปัญหาใหญ่ที่สำคัญของผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต อาการเกร็ง คือ สภาวะที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของตัวเองไม่ได้ มักเกิดขึ้นในข้างอ่อนแรง ทางการแพทย์เราเรียกอาการนี้ว่า “Spasticity” อาการเกร็งจะเกิดขึ้นเมื่อ คนไข้หาว ไอ ออกแรงมากเกินไป หรือมีแรงกระตุ้นจากภายนอกที่ไม่เหมาะสม สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งแขนและขาตามตำแหน่งสมองที่ได้รับบาดเจ็บ ส่วนใหญ่ มักจะเกิดขึ้นที่แขนในลักษณะ เกร็งงอที่ข้อศอก ข้อมือ นิ้วมือ ส่วนขาจะพบการเกร็งหนีบสะโพก เกร็งเหยียดเข่า และเกร็งถีบปลายเท้า ระดับความแรงของการเกร็งเปลี่ยนแปลงตามการดำเนินโรค โดยวันนี้เราได้ยกตัวอย่าง
ทดสอบความ “แข็งแรง” ของโมเดลจาก Metal Printer Ep-m150
หากกล่าวถึง 3D Printer หลายๆคนคงรู้จัก ทั้งในรูปแบบพลาสติก FDM หรือ เรซิ่น SLA รวมถึงระบบแปลกๆอีกหลายระบบ แต่มีอีกหนึ่งระบบที่หลายคนคงเคยได้ยินแต่อาจจะไม่เคยพบเจอเนื่องจากเป็นระบบที่น้อยคนนักจะได้ครอบครอง เพราะเป็นเครื่องที่เฉพาะเจาะจงมาก อย่างเครื่องพิมพ์โลหะ Metal Printer Ep-m150 เครื่องที่สามารถพิมพ์ออกมาเป็นเหล็กจริงๆโดยสำเร็จ ในวันนี้จะมาทดสอบให้เห็นกันว่าเครื่องพิมพ์เหล็กจริงๆเป็นอย่างไร เริ่มต้นโดยเราจะมาทำความรู้จักเครื่องพิมพ์เหล็กกันก่อน Metal Printer Ep-m150 เป็นเครื่องพิมพ์เหล็กที่รองรับผงโลหะหลายชนิดเช่น Titanium, Stainless,
สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม(FIBO) กับเครื่องปริ้นเหล็ก ตัวแรกในประเทศไทย EP-M150
Foundation เครื่องมือปริ้น 3ดี ใช้ในขี้นแบบ 3มิติ ออกมาให้จับต้องได้ โดยพิมพ์จากไฟล์ 3มิติ (CAD File เช่น STL,OBJ,3MF) เพื่อการสร้างชิ้นงานต้นแบบ Prototype หรือสามารถใช้จริงได้เลย สามารถนำไปใช้ได้กับทุกธุรกิจไม่ว่าจะ ทางวิศวะกรรม การศึกษา การออกแบบ ทางการแพทย์ สถาปัตยกรรม โดยเครื่อง 3D Printer ที่นิยมใช้กันมีอยู่
ทำความรู้จักไฟล์ Tester 3D Printer SLA ใช้ทดสอบอะไรบ้างจาก Phrozen
เชื่อว่าหลายๆคนหลังจากได้รับ 3D Printer แล้วอยากรู้ประสิทธิภาพของเครื่องตนเอง แต่จะเอาไฟล์อะไรทดสอบดี หรือจะทดสอบอะไร แล้วทดสอบเพื่อดูอะไร วันนี้เรามาหาคำตอบกัน เราโดยได้หยิบการยกตัวอย่างของ Phrozen Sonic Mighty 8K เนื่องจากเป็นเครื่องที่มีความละเอียดสูงและ Phrozen Aqua 8K Resin และมองเห็นอย่างชัดเจนในส่วนที่เราจะทดสอบกันและมีไฟล์พิเศษไว้ให้ดาวน์โหลดเพื่อใช้งานอีกด้วยพร้อมแล้วไปดูกัน 1 Pin Diameter มีลักษณะเป็นแท่ง ทรงกระบอก
ขอบคุณ : มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเภสัชศาสตร์ ที่นำ Form3B+ ไปใช้ในงานวิจัยและศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเภสัชศาสตร์ เป็นคณะที่มีชื่อเสียงด้านการวิจัย และฝ่ายด้านการใช้งานทาง เภสัชที่มีคุณภาพ และต้องการ 3D Printer ที่มีคุณภาพสูง พร้อมกับการใช้งานที่เฉพาะเจาะจง ในการวิจัยทางการแพทย์ รวมถึงการผลิตผลงาน Prototype 3DD จึงได้ทำการนำเสนอ Formlabs Form3B+ ซึ่งเป็น 3D Printer เฉพาะเจาะจงทางด้านการแพทย์ เนื่องจากมี เรซิ่นที่รองรับโดยการวิจัย และทางการแพทย์ ทำให้
อาการ Cupping บนเครื่องเรซิ่นคืออะไร แก้อย่างไร
อย่างที่ทราบกันดีว่าการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติระบบเรซิ่นจะทำงานด้วยการจุ่มฐานลงไปในน้ำเรซิ่นและทำการฉายแสงเพื่อให้น้ำเรซิ่นแข็งติดกับฐานพิมพ์ จากนั้นก็ยกขึ้นจากน้ำยาและทำแบบเดิมซ้ำๆในชั้นถัดไป ซึ่งระหว่างที่แท่นพิมพ์นั้นยกขึ้นก็ทำให้เกิดแรงตึงอย่างหมาศาลบนแผ่นฟิล์มที่ถาดน้ำยาบางครั้งทำให้งานเสียหายระหว่างที่แท่นพิมพ์ยกขึ้น แรงดึงมหาศาลนี้ทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า cupping Cupping blowout หรือ Suction Cups อาการCupping blowout หรือที่เราเรียกกันสั้นๆว่า Cupping นั้นเกิดจากตัวงานที่วางอยู่ในลักษณะเหมือนถ้วยคว่ำซึ่งส่งผลทำให้อากาศภายในตัวงานไม่เกิดการไหลเวียนภายในตัวงานมีลักษณะคล้ายสุญญากาศ ส่งผลให้อากาศจากภายนอกพยายามเข้าไปด้านในชิ้นงานและกดตัวงานเอาไว้ทำให้การยกชิ้นงานขึ้นนั้นต้องใช้แรงจำนวนมาก ขณะเดียวกันด้านล่างของถาดน้ำยานั้นคือฟิล์มFEPที่มีความตึงสูงมาก และแน่นอนแรงตึงผิวระหว่างฟิล์มและชิ้นงานนั้นจะสูงมากเช่นกันก็จะส่งผลให้ต้องใช้แรงดึงชิ้นงานเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว เครื่องพิมพ์ทุกเครื่องนั้นสามารถยกงานขึ้นมาได้แน่นอน แต่ปัญหาที่ตามมาคือชิ้นงานอาจจะแตกระหว่าที่ดึงงานขึ้นมา อาการcuppingนั้นจะเกิดบ่อยมากกับเครื่องพิมพ์ที่ทำงานแบบTop-down(ฐานพิมพ์อยู่ด้านบนและจุ่มลงไปในถาดน้ำยาดด้านล่าง) และเครื่องราคาเริ่มต้นจนถึงเครื่องระดับกลางนั้นจะใช้ระบบนี้กันเกือบทั้งหมด และยิ่งเครื่องยิ่งใหญ่มากก็จะทำให้ปัญหาCuppingเกิดมากขึ้นไปอีก จริงๆแล้วปัญหาCuppingนั้นเป็นปัญหาประจำตัวของเครื่องพิมพ์เรซิ่นแบบTop-downอยู่แล้วและทุกครั้งที่พิมพ์งานก็จะมีอาการนี้ทุกครั้งเพราะฐานพิมพ์จะจุ่มแนบกับฟิล์มในถาดน้ำยาอยู่แล้วและทำการดึงออกมา ซึ่งแน่นอนว่าเราหลีกเลี่ยงไม่ได้ครับแต่เราทำให้ผลกระทบกับตัวงานนั้นน้อยลงได้
3D Scan เม็ดยาเพื่องานวิจัยในอนาคตกับ AutoScan Inspec / Sparkle
สวัสดีครับทุกๆท่าน ที่ได้เข้ามาเยี่ยมชมบทความนี้ วันนี้ทางเรา 3DD Digital Fabrication มีตัวอย่างการสแกนสามมติ สำหรับ Show Case ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานวิจัยในส่วนต่างๆ แต่วันนี้จะมาในรูปแบบทางการแพทย์หน่อยนั้นก็คือการใช้ 3D Scanner กับเม็ดยาเพื่องานวิจัยในอนาคตเกี่ยวกับการคำนวณปริมาตรของอัตราส่วนในเม็ดยา และรวมไปถึงการสร้าง Packing ของเม็ดยาได้อย่างง่าย ตัวอย่างสำหรับการสแกนชิ้นงานจริงในวันนี้จะเป็นเม็ดยาที่มีหลากหลายขนาด หลายรูปแบบ ซึ่งรู้กันอยู่แล้วว่าเม็ดยานั้นมีความยากตรงที่มีขนาดที่เล็กมากๆ และบางชนิดมีตัวอักษรที่ถูกแกะมาบนเม็ดยา ซึ่งเราได้รับโจทย์มาว่าเม็ดยาดังกล่าว ต้องการออกมาเป็นไฟล์ 3
ศัลยกรรมการแพทย์กับ 3D Scanner ช่วยอะไรได้บ้าง
สำหรับบางท่านอาจจะคิดว่า 3D Scanner นั้นใช้งานในสแกนที่เกี่ยวข้อกับ วิศวกรรม , รูปลักษณ์ , หรือ สถาปัตยกรรมเป็นหลัก แต่แท้จริงแล้วนั้น 3D Scanner สามารถใช้งานได้ไปจนถึง การแพทย์เฉพาะทางบางกรณี งานวิจัยต่างๆ ยกตัวอย่างเฉพาะสำหรับบทความนี้คือการใช้ 3D Scanner : EinScan Pro2X 2020 กับการคำนวณในส่วนใบหน้า เรามาดูกันว่าสามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างไรกับงานเฉพาะทางแบบนี้
3D Scanner ร่วมกับ 3D Printer ช่วยให้การรักษาศัลยกรรมกระดูกและข้อ ประหยัดเวลาไปถึง 90%
คงไม่มีอุตสาหกรรมใดที่ให้ความสำคัญกับนวัตกรรมและการพัฒนาทางเทคโนโลยีมากไปกว่าอุตสาหกรรมการแพทย์ ดังนั้น เมื่อเทคโนโลยี 3D Scanner เกิดขึ้น ผู้เชี่ยวชาญหลายคนจึงใช้มันอย่างแข็งขันสำหรับการทำงานร่วมกันที่ไม่เคยคาดคิดมาก่อน โดยทั่วไปจะใช้เฝือกในการยึดหรือตรึงตามการรักษาศัลยกรรมกระดูกและข้อเพื่อช่วยในการรีเซ็ต แต่ผู้ป่วยไม่สามารถถอดและล้างได้ในระหว่างระยะเวลาการรักษา และประสิทธิภาพของเฝือกลดลง ดังนั้น เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ ภายนอกซึ่งสามารถช่วยให้ผู้ป่วยรีเซ็ตได้อย่างถูกต้อง ลดความเจ็บปวดของผู้ป่วย และส่งเสริมการรักษากระดูกหัก จึงมีการใช้งานมากขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการผลิตของเฝือกที่ใช้ 3D Print ทั่วไปมีข้อบกพร่องที่ชัดเจน
3D Scanner ในการพิมพ์ใบหน้าเพื่อช่วยเหลือเหยื่อที่ถูกไฟไหม้
เมื่อแผลไฟไหม้หายแล้ว รอยแผลเป็นจะยังคงทำงานอยู่มากและแดงมากเกินไป (เรียกอีกอย่างคือมีเลือดไหลเวียนเป็นจำนวนมาก) แรงกดดันหรือการไหลเวียนของเลือด อาจใช้เวลารักษานานหลายเดือนหรือหนึ่งปีครึ่ง จึงได้มีการดัดแปลงและทำหน้ากากพลาสติก จากการสแกนด้วย EinScan H และนำไปทำโมลปูนพลาสเตอร์ การหล่อปูนปลาสเตอร์ เพื่อนำไปทำใบหน้าพลาสติก ขั้นตอนการทำงานในการหล่อปูปลาสเตอร์ จะทำโดยการใช้ Einscan H 3D Scanner Hybrid Infrared & White LED ซึ่งเป็น Scanner
มันเมามาก Mini on tour @pattaya งานสุด exclusive ที่รวมวิชาการยุคดิจิตอล และคุณหมอเข้าร่วมงานเยอะที่สุด
ทาง 3DD ได้เกียรติจากคุณหมอปกป้อง อมรวิทย์ (Pokpong Amornvit) เข้าจัดบูธในงาน มันเมามาก Mini on tour @pattaya งานสุด exclusive ที่รวมวิชาการยุคดิจิตอล และมีคุณหมอเข้าร่วมงานเยอะที่สุด โดยการเชิญครั้งนี้ เราได้นำสินค้าไปโชว์ ให้กับทางคุณหมอ ในหัวข้อ The Tomorrow War ยักใหญ่ไล่ยักษ์เล็ก ยักษ์เล็กสู้ยักษ์ใหญ่
ขอบคุณ : คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับเครื่อง 3D Scanner Einscan Pro HD แบบครบเซ็ท
เมื่อไม่นานมานี้เราได้รับการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับเครื่องสแกนเนอร์ที่คุณภาพสูง ระดับ HD ที่สามารถสแกนได้ละเอียดเพื่อนำไปใช้เกี่ยวกับงานแพทย์ ในการสร้างส่วนเสริม ทำสิ่งต่างๆในคณะแพทยศาสตร์ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พวกเรา 3DD Digital Fabrication ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ Solution การทำงาน ในด้านต่างๆ จึงได้นำเสนอ EinScan Pro HD ที่ส่งมอบพร้อมกับชุดเซ็น Industrial Pack ที่เป็นฐานหมุนอัตโนมัติและขาตั้งกล้อง เพื่องานที่เป็น HD
เทคนิคสแกนในช่องปากด้วย Aoral Scan3
เมื่อไม่นานมานี้ Shining 3D ได้ทำการเปิดตัว ผลิตภัณฑ์ใหม่ในชื่อว่า Aoral Scan3 เป็นสแกนเนอร์ในรูปแบบ Intra-Oral Scan หรืออย่างที่รู้จักกันว่า สแกนเนอร์ในช่องปาก ที่มีการอัพเกรดขึ้นมาในหลายๆด้าน ทั้งความเรียว ของปลายหัวสแกน และความเร็วในการสแกน ที่เร็วจนน่าทึ่งมากๆ และวันนี้เราได้นำเทคการสแกนมารับชม โดยทำการจำลองการสแกนภายในช่องปาก New!!! Aoral Scan3 เครื่องสแกนเนอร์ในช่องปากสำหรับทันตแพทย์ ใช้ในการทำฟันแบบดิจิทรอน Digital Dentistry รองรับการสแกนสี ต่อภาพอัตโนมัติ มีไฟสถานะแสดงการสแกน
เปิดตัวสแกนเนอร์ในช่องปาก Aoral Scan3 มีอะไรอัพเกรดใหม่บ้าง
เมื่อไม่นานมานี้ Shining 3D ได้ทำการเปิดตัว ผลิตภัณฑ์ใหม่ในชื่อว่า Aoral Scan3 เป็นสแกนเนอร์ในรูปแบบ Intra-Oral Scan หรืออย่างที่รู้จักกันว่า สแกนเนอร์ในช่องปาก ที่มีการอัพเกรดขึ้นมาในหลายๆด้าน ทั้งความเรียว ของปลายหัวสแกน และความเร็วในการสแกน ที่เร็วจนน่าทึ่งมากๆเมื่อเทียบกับ Aoral Scan 2 การเปิดตัวครั้งนี้ เค้าได้เครมเอาไว้ว่า Aoral Scan3 สามารถสแกนได้มากกว่า
3D Printer สำหรับศัลยกรรมที่สัตวแพทย์เลือกใช้
ที่ Michigan State University College ของสัตวแพทย์ศาสตร์ มีสัตว์เลี้ยงทุกรูปแบบ ทุกขนาด และทุกสายพันธ์ Dr. Danielle Marturello, DVM, MS, DACVS ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านศัลยกรรมกระดูกสัตว์ขนาดเล็ก ต้องพบเจอสัตว์เลี้ยงที่เข้ามามากมาย ซึ่งบางครั้งจะพบสุนัขและน้องแมวกระดูกหัก โครงกระดูกผิดรูป หรือเอ็นฉีกขาด ซึ่งเป็นหน้าที่ของ Dr. Danielle ที่จะต้องช่วยแก้ไขรักษาพวกเขา ผู้ป่วยต่างกัน
3D Printer สร้างแบบจำลองเพื่อผ่าตัดช่วยเหลือเด็กผู้ป่วยมะเร็ง
ต่อจากเมื่อโพสต์ที่แล้วที่ Dr. Rodrigo ได้ใช้ Smartphone ในการสแกนใบหน้าเพื่อทำ ชิ้นส่วนใบหน้าเทียม เค้าได้มีการพัฒนาการสร้างแบบจำลอง โครงสร้างกระดูกหลอดเลือดของเนื้องอก และกล้ามเนื้อเพื่อทำการศึกษาก่อนทำการผ่าตัด Dr. Rodrigo ได้มีการช่วยเหลือเด็กอายุ 3ขวบที่มีเนื้องอกในต่อมน้ำเหลืองหรือที่เรียกว่า มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Macrocystic Lymphangioma) ซึ่งอยู่ในบริเวณปากมดลูกด้านซ้ายที่อยู่ติดกัน ทั้งโครงสร้างของหลอดเลือกและกล้ามเนื้อ โดยการรักษาครั้งนี้Dr. Rodrigoได้จำลองโครงสร้างกระดูก หลอดเลือดของเนื้องอก และกล้ามเนื้อเพื่อทำการศึกษา พร้อมทั้งทำการอธิบายให้กับผู้ปกครองของคนไข้ และนักเรียนแพทย์ได้เข้าใจ ในการพิมพ์
Smartphone ในการสร้างไฟล์ 3มิติเพื่อทำใบหน้าเทียม
การสร้างชิ้นส่วนเทียมสำหรับใบหน้าของผู้ป่วยที่ประสบปัญหาใบหน้าเสียหาย เนื่องจากอวัยวะที่เป็นศูนย์กลางและปัญหาทางโครงสร้าง การสร้างอวัยวะเทียมขึ้นใหม่จึงเป็นงานที่ยากสำหรับแพทย์และนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับ 3D Printing เพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับการสร้างชิ้นส่วนเทียมเพื่อใช้กับใบหน้า หรืออวัยวะส่วนอื่นๆ รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเครื่องที่สามารถใช้ได้กับการแพทย์ และกายวิภาค Anatomy สามมิติ และใช้คอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการออกแบบต่างๆ ในทางการแพทย์การพิมพ์ 3 มิติ เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก ในการซ่อมแซมศัลยกรรมใบหน้าขากรรไกร ใบหน้าไม่สมดุล ใบหน้าผิดรูป และการศึกษาด้านต่างๆ จนได้รับหนทางใหม่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วย โดยการศึกษาเกี่ยวกับการแพทย์และการพิมพ์3มิติครั้งนี้เป็นการทุ่มเทของ Dr. Rodrigoและทีม
3D Printer กับการพัฒนาธุรกิจผู้ผลิตเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ทางทันตแพทย์
เคอิชิคาอิ เดนตัล เซอร์วิส แอนด์ แล็ป ผู้จำหน่ายเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆของทันตแพทย์ รวมถึงการผลิตเกี่ยวกับฟันเทียมและอื่นๆ ได้หยิบยก 3D Printer ขึ้นมาเพื่อพัฒนาส่งเสริมธุรกิจของตัวเองโดยมีโจทย์ว่า ต้องการเครื่องที่สามารถใช้ได้กับทันตแพทย์ หรือการแพทย์ได้เท่านั้น รวมถึงจะต้องใช้งานที่ง่าย ใครๆก็สามารถเข้าถึงการใช้งานได้ เราเลยจัดให้เลยกับ Form3B เป็นเครื่องที่ผลิตมาเพื่อการแพทย์โดยเฉพาะ และยังมีน้ำยาเรซิ่นที่ได้รับการรับรองจากนักวิจัยถึง 30 ชนิด นอกจากนี้เราได้ทำการจัดส่งสินค้าพร้อมสอนการใช้งานโดยวิศวกรมืออาชีพ ที่ชำนาญการโดยเริ่มสอนตั้งต้นจนจบการทำงาน และนอกจากการสอนแล้วยังมีทีมงานคอยให้คำปรึกษาเกี่ยวกับใช้งานอีกด้วย Form3B