โครงสร้าง Support ในการพิมพ์สามมิติ

โครงสร้าง Support ในการพิมพ์สามมิติ

มารู้จักโครงสร้าง support ในการพิมพ์สามมิติคืออะไร เมื่อไหร่ถึงจะต้องมี และมันมีผลกับคุณภาพของงาน และต้นทุนการพิมพ์อย่างไร 1. ทำความรู้จักกับโครงสร้าง Support กันก่อน การพิมพ์สามมิติเป็นการเรียงเส้นวัสดุซ้อนกันเป็นชั้นๆ ดังนั้นจึงต้องมีการเส้นวัสดุชั้นแรกก่อนเพื่อซ้อนวัสดุชั้นต่อไปจนได้เป็นวัตถุสามมิติ (เหมือนการซ้อนก้อนอิฐในการก่อสร้างกำแพงบ้าน) อย่างไรก็ตามอย่าลืมเรื่องกฎแรงโน้มถ่วง เนื่องจากลักษณะของโมเดลที่คุณพิมพ์ อาจจะมีความซับซ้อน มีส่วนยื่น ส่วนที่ลอยอยู่กลางอากาศก็ได้ ถ้าเกิดเหตุการณ์แบบนี้ คุณต้องการโครงสร้าง support เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ความต้องการโครงสร้าง support ในการพิมพ์แต่ละระบบ

Read more

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เคล็ดลับและเทคนิค / What is 3D Printing? – Tips & Tricks

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เคล็ดลับและเทคนิค / What is 3D Printing? – Tips & Tricks

เคล็ดลับและเทคนิค เอาล่ะ เรามีไฟล์สามมิติพร้อมที่จะเริ่มพิมพ์แล้ว ว่าแต่คุณรู้ไหมว่าระยะห่างระหว่างชั้น (layer) คืออะไร มีผลกับคุณภาพพื้นผิวของงานคุณอย่างไร หรือเครื่องพิมพ์แบบไหนที่เหมาะกับงานที่มีรายละเอียดเล็ก ๆ มากมายของคุณ อ่านบทความต่อไปนี้แล้วเรียนรู้เกี่ยวกับเกร็ดความรู้ และตัวอย่างที่จะช่วยให้คุณพิมพ์งานได้ดีขึ้น จะรู้ได้อย่างไรว่าโมเดลของคุณสามารถนำไปพิมพ์ได้โดยไม่มีปัญหา จะมีวิธีตรวจสอบโมเดลว่าเหมาะที่จะนำไปพิมพ์หรือไม่? ก่อนที่คุณจะนำไฟล์สามมิตินั้นไปพิมพ์ ต้องแน่ใจก่อนว่าโมเดลในไฟล์นั้นมีลักษณะที่ตัน (solid mesh) หรือพูดอีกแง่หนึ่งคือมีพื้นผิวที่เชื่อมต่อกันทั้งหมด มิฉะนั้นจะพิมพ์ไม่ได้ หรือพิมพ์ออกมาแล้วได้งานที่ไม่สมบูรณ์ โปรแกรมที่เราสามารถตรวจสอบโมเดลก่อนพิมพ์มีมากมายเช่น ใช้ฟรี มีค่าใช้จ่าย Autodesk

Read more

ทำความรู้จัก 3D Printer, 3D Scanner, Laser CNC นวัตกรรมเปลี่ยนโลก

ทำความรู้จัก 3D Printer, 3D Scanner, Laser CNC นวัตกรรมเปลี่ยนโลก

สวัสดีครับ หลายคนเคยเห็นเครื่องพิมพ์สามมิติ หรือเคยได้ยินมาบ้าง ว่าเป็นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก แต่ไม่รู้จะเริ่มศึกษาจากที่ไหน ทางเราปริ๊นท์3ดีดี ทำบทความสรุปมาให้ทุกคนได้ดูครับ น่าจะเป็นประโยชน์ให้กับมือใหม่ 3D Printer โดยจะเป็นการอธิบายอะไรคือเครื่องพิมพ์3มิติ, มีกี่ประเภท, การเลือกซื้อให้เหมาะกับการใช้งาน, รีวิวเครื่อง 3D Printer รุ่นต่างๆ ทั้งนี้นอกจาก FDM 3D Printer, SLA Printer เราได้รวมบทความที่เกี่ยวข้องกับ 3D

Read more

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เตรียมพิมพ์ / What is 3D Printing? – Getting Start

เริ่มต้นการพิมพ์สามมิติ พร้อมที่จะเริ่มเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมกันอีกครั้งแล้วใช่ไหมครับ มาดูกันว่าเราจะดึงไอเดียที่เรามีในสมอง ให้กลายมาเป็นวัตถุที่จับต้องได้อย่างไร ก่อนอื่นเราก็ต้องมีแบบที่พร้อมจะพิมพ์ จากนั้นเราก็ต้องมีเครื่องพิมพ์สามมิติ หรือจะไปใช้บริการจากผู้ให้บริการพิมพ์งานสามมิติก็ได้ เพื่อให้ง่ายแก่การเข้าใจ เราจะอธิบายเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ เราจะได้ไฟล์งานสามมิติมาจากไหน? เริ่มกันจากพื้นฐานกันเลย ในการพิมพ์สามมิติ ก่อนอื่นจะต้องมีโมเดลเป็นไฟล์สามมิติเสียก่อน ซึ่งหมายถึงไฟล์ที่ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขที่ระบุขนาดของวัตถุทั้งสามมิติ คือกว้าง ยาว ลึก(หรือสูง) โมเดลสามมิติถูกสร้างขึ้นมาจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภท computer-aided design หรือ CAD มีโปรแกรมประเภทนี้อยู่มากมาย ที่ช่วยให้การออกแบบง่ายขึ้นในคอมพิวเตอร์ แทปเล็ต

Read more

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – วัสดุพิมพ์ / What is 3D Printing? – Materials

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – วัสดุพิมพ์ / What is 3D Printing? – Materials

Materials พลาสติกอเนกประสงค์ ABS และ PLA เป็นวัสดุที่เหมาะกับการเริ่มต้น ราคาไม่แพง ทนทาน หาได้ง่าย มีให้เลือกหลายสี เหมาะกับการสร้างต้นแบบของชิ้นส่วนเครื่องกล และงานออกแบบที่ไม่มีส่วนยื่นจำนวนมาก การพิมพ์ด้วยพลาสติกชนิดนี้จะมีข้อจำกัดบางประการ โมเดลที่มีส่วนยื่นเอียงลาดมากกว่า 45 องศาต้องมีการสร้าง support เพิ่มเติม มิฉะนั้นจะพิมพ์ไม่ได้ และบางส่วนของโมเดลที่มีความหนาน้อยกว่า 1 ม.ม. อาจจะพิมพ์ไม่ได้    

Read more

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เทคโนโลยีการพิมพ์ / What is 3D Printing? – Technologies

การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เทคโนโลยีการพิมพ์ / What is 3D Printing? – Technologies

  เทคโนโลยีของเครื่องพิมพ์สามมิติ เครื่องพิมพ์สามมิติแต่ละระบบทำงานอย่างไร เครื่องพิมพ์สามมิติไม่ว่าจะเป็นระบบใดก็ตามจะสร้างวัตถุขึ้นมาจากไฟล์สามมิติทีละชั้น ๆ เพียงแต่ระบบหนึ่ง ๆ จะมีวิธีการเฉพาะตัว เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน เราทำ Infographic ของเครื่องพิมพ์ทุกระบบมาเปรียบเทียบให้เข้าใจได้ง่าย โดยจัดเป็นกลุ่ม ระบบ ชื่อระบบ วัสดุที่ใช้ และยี่ห้อที่มีจำหน่ายในท้องตลาด คลิ๊กที่รูปเพื่อขยาย กับคำถามที่ว่าเทคโนโลยีแต่ละแบบทำงานอย่างไร และผลงานที่ได้ออกมาหน้าตาเป็นอย่างไร ระบบการพิมพ์แต่ละแบบมีข้อดี-ข้อด้อยอย่างไร? ในบทต่อไปนี้จะแสดงให้เห็นว่าระบบต่างๆ ทำงานอย่างไรโดยละเอียด Fused Filament

Read more

Class 3D Printer 101 #1 9th Apr 16

Class 3D Printer 101 #1 9th Apr 16

จบกันไปแล้วกับงาน Class 3D Printer 101 ครั้งที่1 วันที่ 9 เมษายน 59 ทางเราขอเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความรู้เรื่องเครื่องพิมพ์ 3 มิติ / เครื่อง 3D Scanner โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น ข้างล่างเป็นภาพบรรยากาศ นะครับ ติดตาม Class ต่อๆไปใน Facebook เรานะครับ https://www.facebook.com/print3dd/

Read more

Function ใหม่ๆ ในโปรแกรม FlashPrint V.3.8.0

โปรแกรม FlashPrint มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมาถึงเวอร์ชั่น 3.8.0 ซึ่งมีการเพิ่มความสามารถหลายๆ อย่างเข้ามาเช่นเปิดภาพถ่ายสองมิติมาพิมพ์แบบสามมิติ หรือที่เรียกว่า Lithophane พร้อมด้วยคำสั่ง “Cut” และคำสั่ง “Support” ลองมาชมตัวอย่าง และวิดีโอแนะนำการใช้งานกันได้เลยครับ Lithophane คำสั่ง Cut ให้ความสะดวกในการตัดโมเดลออกเป็นส่วนๆ เพื่อให้พิมพ์โมเดลใหญ่ได้ในเครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก หรือบางครั้งโมเดลที่โหลดมามีส่วนที่เราไม่ต้องการ ก็สามารถตัดทิ้งไปได้โดยไม่ต้องไปสร้างใหม่ นับว่ามีประโยชน์มากทีเดียว และนับเป็นโปรแกรม Slicer ตัวเดียวในขณะนี้ที่ทำได้

Read more

รวม 5 เคล็ดลับการออกแบบโมเดลสำหรับการพิมพ์ 3D

By Pinshape การออกแบบงานสำหรับการพิมพ์สามมิติอาจจะค่อนข้างแตกต่างจากการออกแบบเพื่อการอื่น โมเดลบางอย่างอาจจะดูดีมากตอนออกแบบ แต่อาจจะทำให้พิมพ์ยากมาก หรือพิมพ์ไม่ได้เลย เป็นสิ่งที่น่าปวดหัวสำหรับชาว Maker มันมีเคล็ดลับห้าข้อที่จะช่วยให้การออกแบบโมเดลคุณสามารถพิมพ์ได้ง่ายขึ้นมาก หลีกเลี่ยงส่วนที่ต้องมี support ก่อนอื่นต้องรู้ว่า support คืออะไร – ในอีกชื่อหนึ่งคือ “ค้ำยัน” หรือ “นั่งร้าน” มันจะช่วยรองรับบางส่วนของโมเดลที่ไม่มีเนื้องานอยู่ข้างใต้เพื่อป้องกันการห้อยตกลงมาของเส้นพลาสติก เมื่อพิมพ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว support ก็จะถูกแกะทิ้งไป  โดยทั่วไป support จะถูกสร้างจากโปรแกรมจำพวก

Read more

มาทำตรายางสนุกๆ กันด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ และซอฟแวร์ฟรีๆ กัน

  • โดย Chris Slyka • ระดับความยาก: ง่าย ช่วงสองสามปีที่ผ่านมานี้ กระแสย้อนยุคในด้านเทคนิคการพิมพ์ได้เป็นที่นิยมเช่น การพิมพ์แบบนูนต่ำ หรือเล็ตเตอร์เพรส แต่เครื่องมือเครื่องใช้ในการทำมันอยู่ไกลเกินเอื้อมสำหรับเราๆ ท่านๆ โชคดีที่มีเทคโนโลยี่การพิมพ์สามมิติ ทำให้การสร้างสรรค์แม่พิมพ์ งานเรียงพิมพ์ หรือแม้แต่ตรายาง ง่ายขึ้นมาก วันนี้เราจะมาทำตรายางอย่างง่ายๆ จากรูปลายเส้นโดยใช้โปรแกรม Inkscape และ OpenSCAD ซึ่งทั้งสองตัวเป็นโปรแกรมฟรีอยู่แล้ว

Read more

วิธีการใส่/ถอดเส้น Filament โดยไม่ทำให้เส้นติด

วิธีการใส่/ถอดเส้น Filament โดยไม่ทำให้เส้นติด

สอนวิธีการใส่เส้นพลาสติก สำหรับเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge แบบใหม่ หลายคนคงเคยมีประสบการณ์เส้นพลาสติกคาอยู่ที่หัวฉีด หรือ เส้นหักในหัวฉีด จะดันเส้นก็ไม่เข้า ต้องทำการลื้อหัวฉีด เฟืองออกมา เพื่อหยิบเส้นพลาสติกที่ค้างอยู่ออก เสียทั้งเวลาและอารมณ์ หลังจากมีประสบการณ์การใช้งานเครื่อง 3D Printer มานานทางเราจึงพอสรุปวิธีการ Load และ Unload เส้นพลาสติกโดยไม่ทำให้เส้นติด โดยเราแนะนำไม่ให้ใช้คำสั่ง Load หรือ Unload จากเมนูของเครื่องเนื่องจากมีโอกาสทำเส้นติดสูง

Read more

วิธีการประกอบ Turbo Fan สำหรับเครื่อง Flashforge Creator Pro

วิธีการประกอบ Turbo Fan สำหรับเครื่อง Flashforge Creator Pro

สวัสดีครับ หลายท่านซื้อเครื่อง Flashforge Creator Pro ไปแล้วต้องการเสริมเครื่องโดยการ เพิ่ม Turbo Fan หรือ พัดลมเป่าชิ้นงาน ให้พิมพ์ชิ้นงานได้สวยขึ้นเนียนขึ้น เราได้จัดทำวิธีการให้ท่านสามารถทำเองได้ง่ายๆ ตามขั้นตอนข้างล่างนี้ครับ ธรรมดา เครื่องพิมพ์ 3มิติ ของ Flashforge จะมี Turbo เฉพาะในรุ่น Flashforge Dreamer เท่านั้น(ข้อมูล

Read more

รีวิวการใช้คำสั่ง Ooze Shield ช่วยในการพิมพ์งานสองสี

รีวิวการใช้คำสั่ง Ooze Shield ช่วยในการพิมพ์งานสองสี ในการพิมพ์งานสองสีหรือการพิมพ์โดยใช้ทั้งสองหัวพิมพ์มักจะมีปัญหาอยู่เสมอว่าขณะที่หัวหนึ่งกำลังพิมพ์ จะมีพลาสติกที่อยู่อีกหัวหนึ่งไหลออกมาติดที่ชิ้นงาน ทำให้ชิ้นงานเลอะเทอะ ไม่สวย ดังนั้นวันนี้จะมาแนะนำคำสั่งหนึ่งที่มีมาให้ในโปรแกรม CreatBot (Cura) นั่นคือ Ooze Shield หลายคนคงจะสงสัยว่าคำสั่งนี้มันทำงานอย่างไร สามารถอธิบายได้ง่ายๆ คือมันจะสร้างเกราะหุ้มชิ้นงานของเราเพื่อเอาไว้ดักเช็ดเศษพลาสติกที่ไหลเยิ้มออกมา ช่วยให้ชิ้นงานของเราสะอาด สีไม่เลอะ ลองมาดูวิธีทำกันเลยดีกว่า ก่อนอื่นก็ต้องโหลดชิ้นงานที่มีสองสีเข้าในโปรแกรมก่อน วันนี้ขอเลือกกบต้นไม้ลายเสือมาลองดูครับ ไฟล์นี้ไปโหลดได้ที่นี่ http://www.thingiverse.com/thing:329436 เปิดเมนู Expert

Read more

FlashPrint 3.2.0 พร้อมให้ดาวน์โหลดแล้ว

FlashPrint เป็น Slice Engine ที่มาพร้อมกับเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge Dreamer ขณะนี้พัฒนามาถึงเวอร์ชั่น 3.2.0  แล้ว ในเวอร์ชั่นใหม่นี้มีอะไรใหม่บ้าง ลองมาดูกัน ก่อนอื่นเลยการทำงานของโปรแกรมมีความรวดเร็วมากขึ้น เสถียรขึ้น และที่เห็นชัดเจนก็คือการจัดการกับ Supports โดยจะเห็นว่ามีปุ่มเพิ่มขึ้น เมื่อกดปุ่ม Support จะมีปุ่ม Supports Options เพิ่มขึ้นมา ซึ่งจะมีตัวเลือกให้สองแบบ คือแบบกิ่ง

Read more

เสียงแห่งความหายนะ!!

เสียงแห่งความหายนะ!!

เคยมั้ยที่เวลาพิมพ์ชิ้นงานแล้วมีเสียงแปลก แล้วก็ตามมาด้วยชิ้นงานที่เสียหาย มันไม่ใช่เสียงที่เราอยากได้ยินเลย แต่ถ้ามันเกิดขึ้นแล้วเราก็อาจจะบอกได้ว่ามันมีปัญหาที่ไหน และจะแก้ไขได้อย่างไร ลองดูวิดีโอประกอบไปด้วยนะครับ เสียงแรกค่อนข้างรุนแรง และเราจะเห็นได้ชัดว่ามีวัตถุไปขวางทางเดินของเครื่องพิมพ์ อันตรายครับ ควรรีบปิดเครื่องแล้วเคลียร์ของที่กีดขวางออกไป อีกสาเหตุหนึ่งคือ Limit switch เสีย หรือชำรุด ทำให้หัวพิมพ์ไม่หยุดเมือไปถึงปลายทางแล้ว ถัดมาเป็นเสียงแต๊กๆ ที่มอเตอร์ขับเส้น และเส้นพลาสติกไม่ฉีดออกมาที่ชิ้นงาน เกิดจากหัวพิมพ์เกิดอุดตัน เส้นพลาสติกไหลได้ไม่สะดวก มักเกิดก่อนที่หัวฉีดจะตันถาวร สาเหตุอาจเกิดจาก อุณหภูมิที่หัวฉีดต่ำเกินไป หัวฉีดชิดแท่นพิมพ์เกินไป

Read more

DLP/SLA 3D Printer คืออะไร?

DLP/SLA 3D Printer คืออะไร?

หลังจากเกริ่นนำไปแล้วใน เครื่องพิมพ์ 3มิติคืออะไร? และ FDM 3D Printer คืออะไร? คราวนี้เรามาต่อด้วยเครื่องพิมพ์แบบ SLA หรือ DLP กันต่อครับ เครื่องพิมพ์แบบ SLA หรือ DLP (บางครั้งอาจจะเรียกว่า RP อยู่คือ Rapid Prototype) นั้นมีหลักการทำงานเช่นเดียวกันคือการฉายแสงไปยังเรซิ่นที่ไวต่อแสง และแข็งตัวเมื่อโดยแสงที่ย่านความถึ่เฉพาะตัว ขึ้นรูปจากน้ำเรซิ่น(Photopolymer

Read more

การทำความสะอาดเฟืองขับเส้นพลาสติก

การทำความสะอาดเฟืองขับเส้นพลาสติก

  หลังจากที่ใช้เครื่องพิมพ์สามมิติไปสักระยะหนึ่ง ปัญหาหนึ่งที่สามารถพบได้บ่อยๆ ในการพิมพ์งานคือเส้นพลาสติกที่ฉีดออกมามีลักษณะขาดตอน ไม่สม่ำเสมอ ซึ่งสาเหตุหนึ่งก็คือการที่มีเศษพลาสติกไปติดตรงเฟืองของมอเตอร์ที่ทำหน้าที่ขับเส้นพลาสติก ทำให้มันจับเส้นพลาสติกไม่เต็มที่ และกำลังในการขับเส้นลดลง วิธีการแก้ไขคือการเอามอเตอร์ออกมาทำความสะอาดแล้วใส่กลับเข้าไป มันจะมีประสิทธิภาพกลับไปเหมือนใหม่อีกครั้ง เครื่องมือที่ต้องใช้มีเพียงประแจหกเหลี่ยมขนาด 2.5 ม.ม. อันเดียวเท่านั้น ซึ่งมีมาให้พร้อมเครื่องพิมพ์ Flashforge อยู่แล้ว แต่ถ้ามีเป็นแบบหัวบอลก็จะสะดวกยิ่งขึ้น เรามาเริ่มกันเลย   ก่อนอื่นก็ต้องถอดเส้นพลาสติกออกจากตัวเครื่องก่อน และอย่าลืมถอดปลั๊กไฟด้วยนะ ไขสกรูสองตัวที่อยู่ตรงพัดลมออก แล้วดึงพัดลมออกมา จะมีปลอกพลาสติก

Read more

สร้าง Support เองง่ายๆด้วย Flashprint 3.0

สร้าง Support เองง่ายๆด้วย  Flashprint 3.0

หลายๆคนที่ใช้เครื่อง 3D Printer คงเคยประสบปัญหาโปรแกรมสร้าง Support ไม่ได้ดั่งใจ Support มากเกินไปในบางจุด หรือ ดันไม่สร้างในจุดที่ควรจะสร้าง คราวนี้เรามาแนะนำตัวช่วยสำหรับเรื่องนี้กับหลายๆท่าน ขออธิบายเรื่อง Support ก่อนนะครับ Support คือส่วนที่โปรแกรมสร้างให้โดยอัตโนมัติ เพื่อให้เครื่องพิมพ์สามมิติพิมพ์ออกมารองรับชิันงานในส่วนที่ห้อยหรือไม่มีฐานรอง ลองนึกภาพว่าเครื่อง 3D Printer จะเริ่มสร้างชิ้นงานจากฐานล่างสุดค่อยๆขึ้นมาทีละชั้น หากมีบางจุดลอยอยู่กลางอากาศเครื่องจะสร้าง Support ขึ้นมาเป็นเสมือน “นั่งร้าน”

Read more

ABS Juice พระเอกตัวจริง เพื่อนแท้ผู้นิยม ABS

ABS Juice พระเอกตัวจริง เพื่อนแท้ผู้นิยม ABS

  มันเป็นปัญหาคาใจของผู้ที่จำเป็นต้องพิมพ์งานสามมิติด้วยวัสดุ ABS มานาน กับเรื่องที่พิมพ์แล้วชิ้นงานแอ่นตัว หรือหนักสุดก็หลุดจากแท่นพิมพ์ไปเลย หลายๆ คนอาจจะเคยลองใช้สเปรย์ฉีดผม กาวลาเท็กซ์ หรือแ    ม้แต่กาวตราช้างแต่ก็ไม่รู้สึกว่าได้ผลดี จนอาจจะถอดใจเลิกใช้ ABS ไปเลย วันนี้เราจะนำเสนอทางออกที่แสนจะง่ายดาย และได้ผลอย่างเห็นได้ชัด ABS Juice หรือน้ำยาเอบีเอส ซึ่งวิธีการทำมีดังนี้ เตรียมอุปกรณ์ และวัสดุ Acetone ประมาณ 50 มล.

Read more

การชุบเคลือบโลหะด้วยไฟฟ้าบนชิ้นงานพิมพ์สามมิติ

การชุบเคลือบโลหะด้วยไฟฟ้าบนชิ้นงานพิมพ์สามมิติ

พลาสติก ABS สามารถชุบเคลือบผิวด้วยทองแดงได้ จากนั้นก็จะชุบด้วยโลหะชนิดเช่น ทองเหลือง โครเมียม เงิน ฯลฯ ต่อไปได้อีก บทความนี้จะแนะนำการชุบโลหะด้วยตัวเองแบบง่ายๆ ครับ โดยคุณ  Aaron และ Bryan Cera คุณ Aaron เป็นนักออกแบบเครื่องประดับ งานของเขามีการชุบเคลือบทองแดงบ่อยๆ วันนี้เขาจะมาช่วยผมชุบงานพิมพ์สามมิติ มันเป็นงานที่สนุกและน่าสนใจมากจนผมต้องนำมาแชร์ในบล๊อกนี้ ชิ้นงานที่ผมจะลองในวันนี้เป็นโมเดลสามมิติที่ผมพิมพ์ในงานคราวก่อน เป็นวัสดุ ABS

Read more