ขอขอบคุณ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge Creator 3, Formlabs Form 3 และเครื่องสแกนสามมิติ Einscan Pro 2X เพื่อใช้ในการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย 3D Printer : Flashforge Creator 3, Formlabs Form 3
Tag: [SLA/DLP Printer]
ลูกค้า: วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ขอขอบคุณ วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge Creator 3, Formlabs Form 3 พร้อมด้วย Form Wash และ Form Cure และเครื่องสแกนสามมิติ Einscan-Pro 2X เพื่อใช้ในการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย 3D Printer : Flashforge Creator
IPA ขาดตลาด ทำไงดี
ในปัจจุบันที่สถานการณ์ไวรัสโควิด-19 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วโลก ทำให้หลายอย่างขาดตลาด เช่นหน้ากากอนามัย เจลล้างมือ เป็นต้น ซึ่งเจลล้างมือ และแอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อโรคก็เป็นที่ต้องการอย่างมากทั้งในการแพทย์และประชาชนทั่วไป IPA หรือ Isopropyl Alcohol ซึ่งใช้ซ่าเชื้อโรคในเครื่องมือแพทย์เป็นหลักมีการใช้งานในปริมาณที่สูงขึ้นจนแทบหมดไปจากตลาด ทำให้ผู้ใช้งานเครื่องพิมพ์สามมิติชนิด SLA / DLP ได้รับผลกระทบ ไม่สามารถหาซื้อมาใช้เพื่อล้างชิ้นงานหลังจากพิมพ์เสร็จแล้วได้ อันที่จริงเรายังสามารถใช้สารเคมีตัวอื่นทดแทนการใช้ IPA ได้ นั่นคือ Tripropylene glycol
การนำ IPA กลับมาใช้ใหม่
ในการพิมพ์งาน SLA หรือ DLP จำเป็นต้องมีการล้างเอาเรซินส่วนเกินที่เคลือบอยู่บนผิวงานออก โดยการใช้แอลกอฮอล์ชนิด IPA เมื่อเราใช้แอลกอฮอล์ในถังนั้นไปได้สักพัก เรซินที่ถูกล้างจะปนอยู่ในแอลกอฮอล์ เมื่อมันมีปริมาณมากขึ้นก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการชะล้างลดลง งานพิมพ์ที่เราล้างก็จะไม่สะอาดเป็นผลให้คุณภาพงานลดลงอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องคอยเปลี่ยนแอลกอฮอล์ให้สดใหม่อยู่เสมอ เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพสูงสุด แต่ราคาแอลกอฮอล์ก็มีราคาสูงพอดู ณ วันที่เขียนบทความนี้ราคาแอลกอฮอล์ IPA อยู่ที่ประมาณ 150-180 บาทต่อลิตร ในการใช้งานแต่ละครั้งก็ต้องใช้หลายลิตรอยู่ หลายคนอาจจะเทแอลกอฮอล์ที่ใช้มาหลายครั้งแล้วทิ้งไป แต่ในความเป็นจริงเราสามารถนำแอลกอฮอล์กลับมาใช้ใหม่ได้ด้วยวิธีง่าย ๆ ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่าเมื่อเราล้างเรซินในแอลกอฮอล์
เครื่องพิมพ์ลายนามบัตรใช้งานได้จริงจาก 3D Printer
วันนี้มาแชร์งานดีดีที่ทำได้จากเครื่องพิมพ์สามมิติกันครับนั่นคือ “เครื่องพิมพ์ลายนามบัตรอัตโนมัติ” ซึ่งวันนี้เราจะมานำเสนองานดีๆ มีประโยชน์และยังเพิ่มความหรูหราดูดีและคลาสสิคสุดๆ ให้กับนามบัตรของเราได้ด้วย ซึ่งตัวปั๊มพิมพ์ลายนั้นมีข้อดีหลายอย่างไม่ได้เพียงแค่เพิ่มความหรูหราแต่ยังสามารถช่วยให้คนพิการทางสายตาได้รับรู้ถึงข้อมูลและลายละเอียดของเราได้อีกด้วย ซึ่ง ณ ปัจจุบันนี้สามารถทำได้เองโดยใช้เครื่องพิมพ์สามมิติ ระบบ FDM หรือ SLA ก็สามารถใช้งานได้เช่นกัน – ย้อนไปในยุคสมัยก่อนถ้าเราต้องการที่จะพิมพ์นามบัตรต่าง ๆ ก็จะต้องทำบล๊อคขึ้นโมลตัวปั๊มซึ่งต้นทุนสูงและทำยากมากๆ เพราะต้องมีการแกะรายตามแบบที่ต้องการ – ประโยชน์ของเครื่องพิมพ์ลายไม่ได้เพียงแค่เพิ่มความหรูหราดูดีแต่ยังช่วยให้คนพิการทางสายตานั้นได้รับรู้และเข้าใจแทนการมองเห็นของเขาได้อีกด้วยถือว่าเป็นสิ่งที่ดูเหมือนจะไม่มีอะไรแต่ประโยชน์เพียบ – ทางเรา PRINT3DD
ลูกค้า: มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge Guider IIs , Formlabs Form 2, Einscan-SE ไปใช้ในการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย เครื่องพิมพ์สามมิติ: Flashforge Guider IIs , Formlabs Form 2, เครื่องสแกนสามมิติ: Einscan-SE
พิมพ์ชิ้นงานที่มีทั้งความแข็งและยืดหยุ่นได้ด้วย Tough 1500 Resin
Formlabs ได้เปิดตัวเรซินชนิดใหม่ Tough 1500 Resin สำหรับเครื่อง SLA Form 3 และ Form 2 Tough 1500 เป็นเรซินที่ให้ความแกร่ง และมีความยืดหยุ่นเมื่อดัดงอ และจะดีดกลับได้อย่างรวดเร็ว และทำซ้ำ ๆ ได้ด้วย เหมาะสำหรับต้นแบบที่ทำงานได้เหมือนจริง จิ๊กและฟิกเจอร์ และข้อต่อต่าง ๆ มันยังมีคุณสมบัติเหมือน
นักวิจัยเปลี่ยนน้ำมันพืชใช้แล้วจากร้านแมคโดนัลเป็นเรซินสำหรับ 3D printer คุณภาพสูง
Rajshree Ghosh Biswas นักศึกษาปริญญาเอกในห้องทดลอง Professor Andre Simpson นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยโตรอนโต สการ์เบอร์ก ได้เปลี่ยนน้ำมันทอดอาหารที่ใช้แล้วเป็นเรซินสำหรับเครื่องพิมพ์สามมิติที่มีความละเอียดสูง และย่อยสลายในทางชีวภาพได้ การนำน้ำมันพืชที่ผ่านการใช้งานมาแล้วมีความเป็นไปได้สูง มันมีราคาถูก และพลาสติกที่ทำจากน้ำมันพืชก็ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติได้ดีกว่าเรซินที่ใช้กันทั่วไป “การที่พลาสติกเป็นปัญหากับสภาพแวดล้อมก็เนื่องจาก ธรรมชาติไม่สามารถปรับตัวได้ทันกับสารเคมีที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น เนื่องจากสิ่งเราใช้อยู่เป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ในกรณีนี้คือน้ำมันพืช ซึ่งธรรมชาติสามารถจัดการมันได้ดีกว่ามาก Professor Andre Simpson ผู้คิดค้นเรซินจากน้ำมันพืชในห้องแล็บของเขาเกิดความสนใจในไอเดียนี้ เนื่องจากเมื่อสามปีก่อนเขาได้ใช้เครื่องพิมพ์สามมิติเป็นครั้งแรก และเขาพบว่าโมเลกุลของเรซินมันเหมือนกับของน้ำมันพืช
UMass Lowell ผสมผสานศิลปะกับเทคโนโลยีได้อย่างไร
Yuko Oda มีพื้นฐานในด้านวิจิตรศิลป์ เธอได้รับวุฒิปริญญาโทด้านประติมากรรมจาก Rhode Island School of Design จากนั้นเธอก็ไปทำงานในนิวยอร์คกับสถาบัน New York Institute of Technology (NYIT) ที่นั่นทำให้เธอได้ใช้เครื่องพิมพ์สามมิติเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นระบบเส้นพลาสติก (FFF) และเครื่องระบบ Stereolithography (SLA) ก่อนที่จะร่วมงานกับมหาวิทยาลัย Massachusetts Lowell
Additive Manufacturing AM คืออะไร?
Additive Manufacturing (AM) แปลตรงตัวเลย การผลิตแบบเติมเข้าไป บางครั้งอาจจะใช้คำว่า 3D Printing, Rapid Prototype ล้วนมีความหมายเดียวกัน เป็น CAM(Computer Aided Manufacturing)เครื่องมือ เครื่องจักรในการสร้างชิ้นงานโดยการเพิ่มเนื้อวัสดุเข้าไปที่ละชั้น ชิ้นประกอบด้วยชั้นวันวัสดุหลายๆชั้น โดยไฟล์ที่ใช้ในการพิมพ์นั้นเกิดจากการออกแบบ, สแกน หรือ สร้างจาก CAD(Computer Aided Design) ซอฟแวร์จำพวก
โฟล์คสวาเกนฝึกปัญญาประดิษฐ์ให้ออกแบบชิ้นส่วนรถยนต์ที่ดีกว่า
โรงงานรถยนต์โฟล์คสวาเกนในเยอรมันนีฝึกสอนให้โปรแกรมปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนวิธีการออกแบบ และผลิตชิ้นส่วนรถยนต์โดยใช้ 3D printers โรงงานในกลุ่มโฟล์คสวาเกน ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการออกแบบและผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีความซับซ้อน และมีน้ำหนักเบา ขณะนี้มีการจัดแสดงขบวนการผลิต ณ ศูนย์นวัตกรรม และวิศวกรรมแคลิฟอร์เนีย (IECC) ในการแสดงผลงานนี้มีรถยนต์รุ่นแรกที่ใช้ชิ้นส่วนที่ออกแบบโดยปัญญาประดิษฐ์ และผลิตขึ้นมาโดยใช้เครื่องพิมพ์สามมิติ เป็นรถยนต์ไฟฟ้าในรูปทรงของรถรุ่น 1962 Microbus ที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ที่ตัวรถจะมีส่วนประกอบสีส้มเจิดจ้า ที่ทำให้ง่ายต่อการมองเห็นว่าเป็นการออกแบบใหม่โดยใช้ Generative Design ชิ้นส่วนเหล่านั้นประกอบด้วย พวงมาลัย
ลูกค้า: บริษัท ซีเคซี จิวเวลรี่ จำกัด
ขอขอบคุณ บริษัท ซีเคซี จิวเวลรี่ จำกัด ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ Form3 ครบชุดไปใช้ในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น 3D Printer: Form3, Form Cure, Form Wash
ความแตกต่างระหว่างเครื่อง SLA & DLP ในปี 2020
ในตลาดมีเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติหลายระบบ ทำความคุ้นเคยเกี่ยวกับความแตกต่างของแต่ละระบบเพื่ออธิบายว่าคุณคาดหวังอะไรจากการพิมพ์ซึ่งเป็นการตัดสินใจครั้งสุดท้ายกับเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแอปพลิเคชั่นของคุณSLA (Stereolithography) และ DLP (Digital light processing) การพิมพ์ใน 2 รูปแบบนี้เป็นการพิมพ์ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปสำหรับการพิมพ์เรซิ่น การพิมพ์เรซิ่นเป็นที่นิยมในการผลิตชิ้นงานที่มีความแม่นยำสูงแบบ ISOTROPIC
5 เครื่องมือฟรีในการซ่อมไฟล์ STL และวิธีทำ
ไม่ว่าจะเป็นนักออกแบบหรือวิศวกรจำเป็นต้องใช้ซอฟแวร์สำหรับการออกแบบ หรือซ่อมแซมโมเดลสามมิติเพื่อส่งไปพิมพ์ ทุกวันนี้เราไม่ต้องมาปรับโครงสร้างของโมเดลด้วยตัวเองแล้ว มีซอฟแวร์มากมายทั้งที่จัดการไฟล์ให้อัตโนมัติ หรือเลือกที่จะเลือกจัดการเองก็ได้ ซอฟแวร์แบบอัตโนมัติสามารถจัดการไฟล์ที่มีปัญหาเล็กๆ เท่านั้น เช่นรูรั่ว ผนังที่ปิดไม่สนิท แต่โมเดลที่มีปัญหาใหญ่จำเป็นต้องใช้โปรแกรมต่างหากที่มีความสามารถพอสมควร ในบทความนี้จะอธิบายถึงขั้นตอน และรายละเอียดในการซ่อมไฟล์โมเดลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทั้ง 5 โปรแกรม ทำไมต้องซ่อมไฟล์ STL? โดยปรกติแล้วนักออกแบบจะสร้างโมเดลโดยใช้การสร้างพื้นผิวที่มีความละเอียดซับซ้อน ซึ่งเกิดจากการคำนวณรูปร่างของส่วนโค้งและเส้นคลื่น สำหรับเครื่องพิมพ์สามมิติ ส่วนของพื้นผิวจะถูกแปลงให้เป็นโครงตาข่ายโดยมีจุดเชื่อมเป็นรูปสามเหลี่ยม ในการแปลงโครงตาข่ายจะคล้ายกับการระเบิดเอาพื้นผิวที่เรียบเนียนสวยงามออกไป แล้วเรียงกลับเข้ามาใหม่เป็นชิ้นย่อยๆ ให้เหมือนต้นฉบับมากที่สุด หากทำได้ไม่ดีก็จะเกิดพื้นผิวที่หยาบ มีรูโหว่
Form3 vs Form2 มีอะไรเพิ่มขึ้มมาบ้าง
รีวิว+แกะกล่อง Formlabs Form3
Formlabs Form2 เปิดตัวปี 2015 เป็นเครื่องพิมพ์ 3มิติ ระบบ SLA ที่ได้รางวัลมากมาย ประสบความสำเร็จอย่างมาก มีการพัฒนาเรซิ่นต่อเนื่องมาเรื่อยปัจจุบันมีมามากกว่า 20+ ชนิดที่ใช้ทั่วๆไป(เทา/ขาว/ดำ/ใส) เรซิ่นเชิงวิศวกรรม(High Temp/Rigid/Tough/Durable) เรซิ่นทางการแพทย์-ทันตกรรม(Detal Resin/Clear LT Resin/Surgical Guide Resin)เรซิ่นที่ผ่านการับรองจาก FDA USA ปลายปี 2019
Resin Tank LT: ยืดอายุการใช้งาน และเพิ่มโอกาสการพิมพ์สำเร็จให้งานของคุณ
Formlabs มีถาดเรซินสำหรับเครื่อง Form 2 (resin tank) ให้เลือก 2 แบบมาตรฐาน (standard resin tank) กับแบบที่ใช้ได้นาน (resin tank LT) ซึ่งใช้งานได้ยาวนานกว่าแบบมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการพิมพ์บ่อยๆ และถาดชนิดนี้จะช่วยเพิ่มโอกาสในการพิมพ์สำเร็จให้สูงขึ้น ในบทความนี้จะแสดงให้เห็นถึงคุณประโยชน์ของ Resin Tank LT และทำไมจึงควรพิจารณาใช้ Resin Tank
คุณพ่อช่วยลูกชายที่สมองพิการให้เดินได้ด้วย 3D Printer
มีเด็กกว่า 17 ล้านคนบนโลกใบนี้ได้รับผลกระทบจากโรคสมองพิการแต่กำเนิด มันเป็นสิ่งที่น่ากลัวสำหรับพ่อแม่มือใหม่ ด้วยกลัวว่าลูกของตนจะมีปัญหาจากโรคนี้ซึ่งทำให้ไม่สามารถนั่ง ยืน เดิน ใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปรกติ ในการแก้ปัญหาเหล่านี้ให้เด็กสามารถเดินได้ คุณหมอจะใช้วิธีจัดกระดูก หรือใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือซึ่งเริ่มผลิตมาตั้งแต่ช่วงปี 1950 ซึ่งจะทำเป็นรูปร่างมาตรฐาน สวมใส่ไม่พอดี ใส่แล้วไม่สบายตัว ส่วนที่ทำแบบเข้ารูปก็มีราคาแพง อีกทั้งยังใช้เวลานับเดือนในการผลิต เมื่อ 7 ปีที่แล้ว Nik บุตรชายของ Matej คลอดก่อนกำหนด 1
เปรียบเทียบ 3D printing ระบบ FFF vs. SLA vs. SLS
Update 2024!! ปัจจุบันราคาระบบ FDM และ SLA เกือบจะเท่ากันแล้วครับ คือเครื่องคุณภาพดี เริ่มต้น 1x,xxx ก็ใช้ได้แล้ว ราคาวัสดุก็ใกล้เคียงกัน / ส่วนระบบ SLS ผงไนลอนยังแพงเหมือนเดิมครับราคาหลักล้านอยู่ Additive manufacturing (AM) หรือที่เรียกว่าการพิมพ์สามมิติ ช่วยประหยัดเวลา ประหยัดต้นทุน และตัดปัญหาเรื่องขอจำกัดในการผลิตในกระบวนการพัฒนาสินค้าได้ เริ่มตั้งแต่แนวคิดการออกแบบ การทำต้นแบบที่ใช้งานได้
ใหม่! Form 3 และ Form 3L
Formlabs นำเสนอเครื่องพิมพ์ Form 3 และ Form 3L ที่ใช้ระบบแรงดึงต่ำ (LFS™) Formlabs ผู้นำวงการเครื่องพิมพ์ระบบ SLA ได้เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 2 รุ่นที่จะปฏิวัติงานพิมพ์ระดับอุตสาหกรรม โดยมี Form 3 เครื่องพิมพ์มืออาชีพแบบตั้งโต๊ะรุ่นล่าสุด และ Form 3L เครื่องพิมพ์ระบบ SLA ขนาดใหญ่ในราคาที่คุณเอื้อมถึง